วันอาทิตย์ที่8 กุมภาพันธ์ 2558
บันทึกอนุทิน
ประจำวันพุธที่ 4 กุมภาพันธ์ 2558
เนื้อหา
- กิจกรรมติดชื่อบนกระดาน ให้เด็กมีส่วนร่วมในการติดป้ายชื่อของตนเองมาเรียนกับไม่มาเรียน เป็นการสอนแบบลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง และการนำไปใช้ในการเรียนการสอนเด็กต่อไป
- ทดสอบการเรียน
- มาตรฐานคืออะไร และมีประโยชน์อย่างไร
-สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีอะไรบ้าง
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สู่การปฏิบัติในชั้นเรียนทำได้อย่างไรบ้าง
-สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์มีอะไรบ้าง
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สู่การปฏิบัติในชั้นเรียนทำได้อย่างไรบ้าง
สาระการเรียนรู้
- สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สู่การปฏิบัติในชั้นเรียน
-การนำเสอนบทความของเลขที่ 10 Mathematic ของวัยซน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์
มีทั้งหมด 6 สาระดังนี้
-จำนวนและการดำเนิน> รู้ค่าของจำนวน -การวัด > หาค่าในเชิงปริมาณ
- เรขาคณิต >รู้จักรูปร่างและรูปทรงต่างๆ
- พีชคณิต > เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของจำนวน
- การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
- ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ > รู้จักการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
- การวัด (หาค่าในเชิงปริมาณ, เครื่องมือที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
-จำนวนและการดำเนิน> รู้ค่าของจำนวน -การวัด > หาค่าในเชิงปริมาณ
- เรขาคณิต >รู้จักรูปร่างและรูปทรงต่างๆ
- พีชคณิต > เข้าใจถึงความสัมพันธ์ของจำนวน
- การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
- ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ > รู้จักการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
- การวัด (หาค่าในเชิงปริมาณ, เครื่องมือที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
1. มีความคิดเชิงคณิตศาสตร์ ( Mathematical Thinking)
- จำนวนนับ 1 ถึง 20
- เข้าใจหลักการนับ (เพิ่มขึ้นทีละ 1)
- รู้จักตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย ( รู้จักตัวเลข)
- รู้ค่าของจำนวน ( ต้องมีทักษะการนับเป็นอันดับแรก ถึงจะรู้ค่าของจำนวนได้)
- เปรียบเทียบ เรียงลำดับ ( บอกค่าและจำนวน และนำมาเปรียบเทียบ โดยอ้างอิงจากเกณฑ์ในการเปรียบเทียบ
- การรวมและการแยกกลุุ่ม เช่น ติดป้ายชื่อการมาเรียน กับการมาเรียน)
2. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และ เวลา
- เปรียบเทียบ เรียงลำดับ และวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร
- รู้จักเงินเหรียญและธนบัตร
- เข้าใจเกี่ยวกับเวลาและคำชี้ใช้บอกช่วงเวลา (กิจกรรมที่ใช้ในการบอกเด็ก เช่น การเข้าแถว )
3. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางเรขาคณิต
- ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง
- รูปเรขาคณิตสามมิติและรูปเรคณิตสองมิติ
4. มีความรู้ความเข้าใจรูปของที่มีรูปร่าง
- จำนวนนับ 1 ถึง 20
- เข้าใจหลักการนับ (เพิ่มขึ้นทีละ 1)
- รู้จักตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย ( รู้จักตัวเลข)
- รู้ค่าของจำนวน ( ต้องมีทักษะการนับเป็นอันดับแรก ถึงจะรู้ค่าของจำนวนได้)
- เปรียบเทียบ เรียงลำดับ ( บอกค่าและจำนวน และนำมาเปรียบเทียบ โดยอ้างอิงจากเกณฑ์ในการเปรียบเทียบ
- การรวมและการแยกกลุุ่ม เช่น ติดป้ายชื่อการมาเรียน กับการมาเรียน)
2. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับความยาว น้ำหนัก ปริมาตร เงิน และ เวลา
- เปรียบเทียบ เรียงลำดับ และวัดความยาว น้ำหนัก ปริมาตร
- รู้จักเงินเหรียญและธนบัตร
- เข้าใจเกี่ยวกับเวลาและคำชี้ใช้บอกช่วงเวลา (กิจกรรมที่ใช้ในการบอกเด็ก เช่น การเข้าแถว )
3. มีความรู้ความเข้าใจพื้นฐานทางเรขาคณิต
- ตำแหน่ง ทิศทาง ระยะทาง
- รูปเรขาคณิตสามมิติและรูปเรคณิตสองมิติ
4. มีความรู้ความเข้าใจรูปของที่มีรูปร่าง
เช่น ขนาด สี รูปทรง ที่สัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่ง
5. มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลและนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิอย่างง่าย
เช่น แผนภูมิลำดับส่วนสูง ของเด็กนักเรียอนุบาล 1 เป็นต้น
6. มีทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จำเป็น
เพลงทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
เพลงเข้าแถว
สองมือเราชูตรง
แล้วเอาลงมาเสมอกับบ่า
ต่อไปย้ายมาข้างหน้า
แล้วเอาลงมาอยู่ในท่ายืนตรง
ต่อไปย้ายมาข้างหน้า
แล้วเอาลงมาอยู่ในท่ายืนตรง
ยืนให้ตัวตรง
ก้มหัวลงตบมือแผละ
แขนซ้ายอยู่ไหน
หันตัวไปทางนั้นแหละ
หันตัวไปทางนั้นแหละ
วิธีการสอน
- ทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อให้ทราบถึงความรู้เดิม- มีการบรรยายแบบถามตอบเพื่อทวนความรู้เดิม
- ใช้เทคโนโลยีในการสอน
-นักศึกษาเลขที่ 10 นำเสนอบทความหน้าชั้นเรียน
-การร้องเพลง
-ได้ใช้ทักษะในการคิดหาคำตอบ
-ทักษะเกี่ยวกับการสรุปองค์รวมทำให้เข้าใจเนื้อหาในการเรียนมากขึ้น
- นำประสบการณ์การจากการเรียนมาปรับใช้ในการจัดประสบการณ์เพื่อให้เด็กได้เข้าคณิตศาสตร์มาก
ยิ่งขึ้น
-มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่เรียนตั้งใจฟังอาจารย์สอนเป็นอย่างดี
-สามารถนำไปปรับใช้กกับการสอนเด็กปฐมวัยได้
-เพื่อนมีความพร้อมในการเรียนดีแลดูเข้าใจตอบคำถามได้ดี
-แต่งกายสุภาพเรียบร้อย มีการใช้น้ำเสียงที่ชัดเจนและใช้คำพูดที่เข้าใจง่าย ร้องเพลงมีความไพเพราะมาก