วันเสาร์ที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2558

สรุปงานวิจัย

วันที่23 มกราคม พ.ศ 2558


 เรื่อง ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการสาน

ชื่องานวิจัย:  ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจหรรมการสาน
ผู้วิจย; วันดี  มั่นจงดี
มหาวิทยาลัย: ศร๊นครินทรวิโรฒ
ปี: 2554

ความสำคัญ


 การศึกษาในระดับปฐมวัยจัดเป็นการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีความสำคัญระดับหนึ่งเพราะเป็นช่วงที่มีการพัฒนาทุกด้านเจริญอย่างรวดเร็ว ทั้งในด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาและการพัฒนาของเด็กในช่วงนี้จะเป็นการวางพื้นฐานความสามารถด้านต่างๆซึ่ง จะมีผลต่ออนาคตของเด็กประเทศชาติ โดยเฉพราะอย่างยิ่งพัฒนาทางด้านสติปัญญาจะมีผลต่อการเจรฺิญเติบโตสูงสุดร้อยล่ะ 50 และจะเพิ่งเป็นร้อยล่ะ 80 เมื่อเด็กอายุประมาณ 8 ขวบ เราควรจัดการศึกษาการจัดกิจกรรมในโรงเรียนสำหรับเด็กปฐมวัยเพราะเด็กมีความจำเป็นจะต้องการกิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับเด็กเพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาการต่างๆต่อไป

ขอบเขตของการวิจัย


         ประชากรที่ใช้ในงานวิจัย

              ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหว่าง4-5 ปีของโรงเรียนวัดนิมมานรดี สังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน240 คน
       
         กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย

              กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหว่าง4-5 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลที่1 ภาคเรียนที่1 ปีการศึษา2553
       
         ตัวแปรที่ศึกษา

             ตัวแปรอิสระ ได้แก่  การจัดกิจกรรมการสาน
             ตัวแปรตาม   ได้แก่  ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์

        นิยามศัพท์เฉพาะ

            1. เด็กปฐมวัย หมายถึง เด็กนักเรียนชาย-หญิง อายุระหว่าง 4-5 ปี กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลที่1 ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2553
           2. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ หมายถึง ความสามารถการสังเกตการเปรียบเทียบ การจัดหมวดหมู่เป็นต้น
วิธีดำเนินการวิจัย


วิธีการดำเนินงานวิจัย

1. การกำหนดประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
2. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
4. การจัดกระทำและการวิเคราะห์ข้อมูล


สรุปผลการวิจัย

1. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์มีคะแนนเฉลี่ย ทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ โดยรวม 5 ทักษะและจำแนกรายทักษะ คือ ทักษะการบอกตำแหน่ง ทักษะการ
จำแนก ทักษะการนับ ทักษะการรู้ค่ารู้จำนวน และทักษะการเพิ่ม – ลด ภายในจำนวน
1 – 10 อยู่ในระดับดี แตกต่างจากก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีค่าเฉลี่ย
สูงขึ้น
2. เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ มีพัฒนาการทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ในทุกทักษะสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น